บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยเรื่องการศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ สำหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านงิ้วสูง ผู้วิจัยนำเสนอผลการวิเคราะห์ ดังนี้
๑.
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
๒.
ลำดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
๓.
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในการแปลความหมาย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้รายงาน จึงกำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ดังนี้
X แทน ค่าเฉลี่ย
S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
E1 แทน ค่าประสิทธิภาพกระบวนการของการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาที่อ่าน ไม่ออกเขียนไม่ได้
E2 แทน
ค่าประสิทธิภาพผลลัพธ์ของการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาที่อ่านไม่ ออกเขียนไม่ได้
N แทน จำนวนของนักเรียนทั้งหมด
SD แทน ผลรวมของคะแนนที่แตกต่างกัน
ลำดับขั้นตอนในการน
าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ระยะที่ ๑ ศึกษาสาเหตุปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๑ เก็บข้อมูลจากการทดสอบผลสัมฤทธิ์การอ่านการเขียนจากแบบทดสอบที่สร้างขึ้น
การสังเกต การสอบถาม และข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับประวัติส่วนตัวนักเรียนรายบุคคล
ระยะที่ ๒ ศึกษาแนวทางวิธีการรูปแบบการแก้ปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้
ดำเนินการเก็บข้อมูล จากแบบฝึกประกอบการสอนซ่อมเสริม ที่ผ่านกระบวนการสร้างและนำไป
ทดลองใช้หาคุณภาพ (Pilot Study) กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างจริง แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญ
ประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้อง ด้วยการ วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วน
าค่าเฉลี่ยมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ กำหนด
ระยะที่ ๓ ศึกษาผลกิจกรรมการสอนซ่อมเสริมโดยใช้แบบฝึกทักษะ
โดยการนำผล การวิเคราะห์ข้อมูล
ทั้งแบบสถิติและพรรณนาวิเคราะห์ไปหาข้อสรุปเพื่อเป็นข้อมูลในการวิจัยต่อไป
๘๖
ผลการวิเคราะห์
ตารางที่ ๑ ผลการทดสอบก่อนเรียน
ลำดับที่
|
คะแนนก่อนสอบ(
๒๐)
|
๑
|
๑๐
|
๒
|
๙
|
๓
|
๖
|
๔
|
๑๒
|
๕
|
๗
|
๖
|
๘
|
๗
|
๑๖
|
๘
|
๑๓
|
๙
|
๕
|
๑๐
|
๑๔
|
๑๑
|
๑๖
|
๑๒
|
๑๑
|
ผลจากทำการทดสอบก่อนเรียน
จากผลการทดสอบก่อนเรียนของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
โรงเรียนบ้านงิ้วสูง จากประชากรจำนวน ๑๒ คน พบว่ามีเด็กจำนวน ๕ คน ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินแบบทดสอบก่อนเรียน
คิดเป็นร้อยละ ๔๑ ของจำนวนเด็กนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
๘๖
ตาราง ๒ คะแนนการอ่านและเขียนจากการจัดกิจกรรมแก้ปัญหาที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ของชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
โรงเรียนบ้านงิ้วสูง
ลำดับที่
|
บทที่๑
(๑๐)
|
บทที่๒
(๑๐)
|
บทที่๓
(๑๐)
|
บทที่๔
(๑๕)
|
บทที่๕
(๑๕)
|
คะแนนก่อนสอบ
(๒๐)
|
คะแนน
หลัง
สอบ
(๒๐)
|
รวม
คะแนน
(๑๐๐)
|
๑
|
๘
|
๙
|
๙
|
๑๔
|
๑๔
|
๙
|
๑๗
|
๘๐
|
๒
|
๙
|
๗
|
๙
|
๑๕
|
๑๔
|
๖
|
๑๗
|
๗๗
|
๓
|
๘
|
๙
|
๙
|
๑๔
|
๑๕
|
๗
|
๑๘
|
๘๐
|
๔
|
๙
|
๙
|
๙
|
๑๔
|
๑๔
|
๘
|
๑๙
|
๘๒
|
๕
|
๗
|
๙
|
๘
|
๑๔
|
๑๕
|
๕
|
๑๘
|
๗๖
|
ตารางที่ ๓ ผลการสรุปคะแนน
ลำดับที่
|
คะแนนก่อนสอบ
(๒๐)
|
คะแนนหลังสอบ
(๒๐)
|
คะแนนรวม
(๑๐๐)
|
ค่าเฉลี่ย
|
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
|
ค่าร้อยล่ะ
|
๑
|
๙
|
๑๗
|
๘๐
|
๑๐.๔๒
|
๒.๓๒
|
๘๐
|
๒
|
๖
|
๑๗
|
๗๗
|
๑๑
|
|
๗๗
|
๓
|
๗
|
๑๘
|
๘๐
|
๑๐.๘๒
|
๒.๓๒
|
๘๐
|
๔
|
๘
|
๑๙
|
๘๒
|
๑๑.๗๕
|
๒.๓๔
|
๘๒
|
๕
|
๕
|
๑๘
|
๗๖
|
๑๐.๘๕
|
|
๗๖
|
ค่า E1/E2
|
|
๘๗
จากตาราง ๓ แสดงว่า ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมแก้ปัญหาที่อ่านไม่ออก
เขียนไม่ได้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านงิ้วสูง อำเภอดอยเต่า
จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
มีประสิทธิภาพกระบวนการ/ผลลัพธ์ เท่ากับ
๘๒/๗๖ สูงกว่าเกณฑ์ ๗๐ ที่กำหนดไว้ แสดงว่า
การจัดกิจกรรมแก้ปัญหาที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้
เป็นรูปแบบการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ทางวิชาการกำหนด
และนักเรียนได้รับการพัฒนาการอ่านและเขียนบรรลุตรงตามจุดประสงค์ ของการวิจัยที่กำหนดไว้
และตรงตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะว่า การวางแผนงาน
ผู้วิจัยได้มีการศึกษากรอบนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
วิเคราะห์ สภาพปัจจุบันและปัญหาของโรงเรียน ประเมินสถานภาพของโรงเรียน เพื่อหาความต้องการจำเป็น
แล้ววัดทิศทาง การพัฒนา กำหนดเป็นนโยบายโรงเรียนในด้านการ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
แผนงาน โครงการต่าง ๆ เกิดจากการร่วมคิดร่วมทำของคณะกรรมการและ ผู้ที่เกี่ยวข้อง
สอดคล้องกับกระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานที่ว่า
การจัดทำแผนกลยุทธ์ให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลคือ การมีส่วนในการดำเนินการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ประเมินผลการจัด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น